ไม่ได้หมดไฟ แต่หมดใจ! ทำความรู้จัก Brownout Syndrome ภาวะหมดใจในงาน

เลือกอ่านตามหัวข้อ
มาทำความรู้จัก " Brownout Syndrome " ภาวะหมดใจในการทำงาน
Brownout มีสาเหตุมาจากอะไรได้บ้าง?
อาการของ Brownout เป็นอย่างไร?
การแก้ไขอาการ Brownout
บทความแนะนำ ที่ซิสต้องไม่พลาด
มาทำความรู้จัก " Brownout Syndrome " ภาวะหมดใจในการทำงาน
ช่วงหลายปีที่ผ่านมา สาว ๆ อาจจะคุ้น ๆ กับคำว่า Burnout หรือ ภาวะหมดไฟในการทำงานกันอยู่บ้างนะคะ รวมถึงต่อมาก็มีอีกคำที่ได้ยินบ่อยอย่าง Boreout หรือภาวะเบื่องานซึ่งเป็น 2 อาการที่มีผลมาจากการทำงานนั่นเอง
แต่ถ้าถามว่าอะไรคืออาการที่รุนแรงที่สุด อาจจะต้องชวนกันมาทำความรู้จักกับอาการนี้ค่ะ " Brownout Syndrome " ซึ่งหมายถึงภาวะหมดใจซึ่งเป็นผลมาจากองค์กรและสิ่งแวดล้อมที่ทำงานเป็นหลัก โดยอาจจะเหนื่อยใจกับกฏระเบียบหรือเพื่อนร่วมงาน จนทำให้รู้สึกขาดแรงจูงใจ แม้จะลาหยุดไปพักผ่อนแล้วก็ไม่ดีขึ้น
แต่อาการนี้สังเกตได้ยากค่ะ เพราะบางทีเราก็เห็นเพื่อนร่วมงานที่ทำงานเก่ง ๆ เขาก็ยังทำงานได้ตามปกติ แต่วันหนึ่งก็ดันตัดสินใจลาออกไปแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยซะงั้น ซึ่งนั่นก็คงเพราะเขาทนไม่ไหวจนหมดใจแล้วนั่นเองค่ะ นอกจากนี้ สิ่งที่น่าสนใจคืออาการนี้ได้รับการรับรองจาก WHO ว่าเป็นอาการอย่างหนึ่งที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ด้วยนะคะ
แต่ถ้าถามว่าอะไรคืออาการที่รุนแรงที่สุด อาจจะต้องชวนกันมาทำความรู้จักกับอาการนี้ค่ะ " Brownout Syndrome " ซึ่งหมายถึงภาวะหมดใจซึ่งเป็นผลมาจากองค์กรและสิ่งแวดล้อมที่ทำงานเป็นหลัก โดยอาจจะเหนื่อยใจกับกฏระเบียบหรือเพื่อนร่วมงาน จนทำให้รู้สึกขาดแรงจูงใจ แม้จะลาหยุดไปพักผ่อนแล้วก็ไม่ดีขึ้น
แต่อาการนี้สังเกตได้ยากค่ะ เพราะบางทีเราก็เห็นเพื่อนร่วมงานที่ทำงานเก่ง ๆ เขาก็ยังทำงานได้ตามปกติ แต่วันหนึ่งก็ดันตัดสินใจลาออกไปแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยซะงั้น ซึ่งนั่นก็คงเพราะเขาทนไม่ไหวจนหมดใจแล้วนั่นเองค่ะ นอกจากนี้ สิ่งที่น่าสนใจคืออาการนี้ได้รับการรับรองจาก WHO ว่าเป็นอาการอย่างหนึ่งที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ด้วยนะคะ

Brownout มีสาเหตุมาจากอะไรได้บ้าง?

อยากที่บอกไปว่า Brownout มักจะมีสาเหตุมาจากองค์กรหรือสภาพแวดล้อม ไม่ใช่ตัวเราหรือตัวงานค่ะ
เพราะฉะนั้นคนที่มีอาการนี้ จึงมักไม่ได้ไม่อยากทำงาน แต่เพราะสิ่งที่อยู่ในที่ทำงานเป็นตัวกระตุ้นจนไม่อยากไปทำงานนั่นเอง
อย่างกฎที่เข้มงวดขององค์กร ก็อาจจะทำให้อึดอัด จนรู้สึกว่าทำอะไรก็ผิดไปหมด เพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้าที่คาดหวังต่อเราจนเกินไป ก็ชวนให้รู้สึกกดดัน หรือจะเป็นความเหลื่อมล้ำในที่ทำงาน เช่น มีเด็กเส้น มีการเลื่อนตำแหน่งที่ดูแล้วไม่เท่าเทียม ลำเอียง เอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งมากเกินไป เหตุเหล่านี้จึงทำให้เกิด " ภาวะหมดใจ " ได้นั่นเองค่ะ
เพราะฉะนั้นคนที่มีอาการนี้ จึงมักไม่ได้ไม่อยากทำงาน แต่เพราะสิ่งที่อยู่ในที่ทำงานเป็นตัวกระตุ้นจนไม่อยากไปทำงานนั่นเอง
อย่างกฎที่เข้มงวดขององค์กร ก็อาจจะทำให้อึดอัด จนรู้สึกว่าทำอะไรก็ผิดไปหมด เพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้าที่คาดหวังต่อเราจนเกินไป ก็ชวนให้รู้สึกกดดัน หรือจะเป็นความเหลื่อมล้ำในที่ทำงาน เช่น มีเด็กเส้น มีการเลื่อนตำแหน่งที่ดูแล้วไม่เท่าเทียม ลำเอียง เอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งมากเกินไป เหตุเหล่านี้จึงทำให้เกิด " ภาวะหมดใจ " ได้นั่นเองค่ะ
อาการของ Brownout เป็นอย่างไร?

การแก้ไขอาการ Brownout


จบกันไปแล้วนะคะกับ Brownout Syndrome เชื่อว่าต่อให้จะเป็นงานที่เราชอบ บางครั้งมันก็มีอาการเหนื่อย ท้อ หรือไม่อยากทำกันอยู่ตลอดนะคะ แต่อยากให้สาว ๆ ลองใช้เวลาว่าง ๆ สักชั่วโมง เปิดใจคุยกับตัวเองดูว่าเราเป็นอะไรแน่ เราอาจจะค้นพบคำตอบที่ไม่คาดคิดก็ได้นะคะ
และอีกอย่าง ไม่ว่าจะต้องทำงานหนักแค่ไหน สาว ๆ ก็หลงลืมหาสมดุลระหว่างชีวิตกับงานให้ดีนะคะ ไม่อย่างนั้น นอกจากจะทุกข์ใจกับงานแล้ว อาจจะเสียความสัมพันธ์ของคนรอบข้าง และเสียสุขภาพได้ด้วยนะคะ
ขอให้สาว ๆ มีพลังสู้กับชีวิต แม้ชีวิตจะสู้กลับนะคะ
^^
และอีกอย่าง ไม่ว่าจะต้องทำงานหนักแค่ไหน สาว ๆ ก็หลงลืมหาสมดุลระหว่างชีวิตกับงานให้ดีนะคะ ไม่อย่างนั้น นอกจากจะทุกข์ใจกับงานแล้ว อาจจะเสียความสัมพันธ์ของคนรอบข้าง และเสียสุขภาพได้ด้วยนะคะ
ขอให้สาว ๆ มีพลังสู้กับชีวิต แม้ชีวิตจะสู้กลับนะคะ
^^
แก้ Brownout Syndrome ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยของคนวัยทำงาน ด้วยหลัก 4C
รับมือภาวะ Brownout ปากบอกไหว แต่ใจไม่อยากไปต่อ
Burnout, Boreout, Brownout 3 ภาวะเบื่องานที่คนยุคนี้เผชิญ
บทความแนะนำ ที่ซิสต้องไม่พลาด
❤ อย่าลืมไลค์และแชร์บทความให้กำลังใจเราด้วยนะคะ ❤

อันดับบทความประจำวัน
(หมวดการ์ตูน)
Variety By SistaCafe

Feature
กิจกรรม SistaCafe